“บวชจิต” สำหรับท่านที่ไม่พร้อม ไม่มีเวลาปฏิบัติที่วัด

0

“บวชจิต” สำหรับท่านที่ไม่พร้อม ไม่มีเวลาปฏิบัติที่วัด

หากท่านใดที่ยังไม่พร้อม หรือยังไม่มีเวลาที่จะปฏิบัติที่วัด สามารถทำการบวชจิต หรือที่เรียกอืกอย่างหนึ่ งว่า การบวชใน เป็นก ร ร มฐานอย่างหนึ่ งจาก “หลว งปู่ดู่ พรหมปัญโญ”

หลว งปู่ดู่กล่าวถึงเรื่องนี้ว่า “การบวชทั้งในและนอกมันลำบากในยุคนี้ เราบวชใน คนไม่รู้….แต่wีรู้ เทวดารู้

การบวชในเป็นก ร ร มฐานอย่างหนึ่ ง เวลาทำบุญให้นึกว่าตัวเองเป็นพระ ทำเอาไว้จะได้ชิน ถ้าทำบ่อยๆ จะเป็นไปเองโดยอัตโนมัติ

ในเวลาที่ตัวเรานั้นทำความดีอะไรก็ตามแต่ ให้นึกถึงว่าตัวเราเองเป็นพระ มักจะมีการปรับออกมาจากข้างนอกเอง เป็นการบวชจากภายในสู่ภายนอก คือ ด้วยรูปลักษณ์ต่างๆในการบวชที่เป็นพระนั้น พอเราบวชแล้วจะไม่กล้าที่จะทำอะไรที่ไม่ดี เวลาที่เราแผ่บุญกุศลออกไป พลังงานก็จะผ่ านเราออกไปได้มากกว่า

พลังงานนี้จะผ่ านพระได้มากกว่าฆราวาสนะ ลองคิดดูสิ เราเป็นพระนะ (บวชใน) แค่เรานึกนี่ก็เป็นแล้ว ทำไม่เกินสามปีจะรู้สึกว่าเราเป็นพระ เรื่องอะไรที่ไม่ดี เราจะไม่พูด ไม่ทำหรือแม้แต่จะไม่คิด ในฝันเรายังเป็นพระเลย

บวชจิตแล้วต้องสึกไหม? คำตอบคือ ไม่ต้อง มันไม่เกี่ยวกัน เรื่องโลกกับเรื่องธรรมเป็นคนละเรื่อง เวลาอยู่ทางโลกก็อยู่ไป เมื่อไรอยู่ทางธรรมเราก็บวชใน

ตื่นขึ้นมาก็ให้ทำ แล้วกราบพระ ๖ ครั้ง แล้วทำวัตรสั้นๆ อาราธนาองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตั้งแต่องค์ปฐมถึงองค์ปัจจุบัน เวลากินข้าว อาบน้ำ เวลาว่าง เวลานอน ให้สวด ให้ภาวนา จนกว่าจะหลับระยะเวลาผ่ านไปสามปี จะรู้ตัวเองได้ว่า ตัวเราเองมีความเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น ชีวิตเจริญมากยิ่งขึ้น ทรงอารมณ์แบบนี้มีอานิสงส์มหาศาล… เป็นบุญทุกลมหายใจเข้าออก”

หลว งปู่ดู่ได้แนะเคล็ดในการบวชจิตไว้ว่า “ในขณะที่เรานั่งสมาธิเจริญภาวนานั้น คำกล่าวว่า พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ให้นึกถึงว่าเรามีพระพุทธเจ้าเป็นพระอุปัชฌาย์ของเรา ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ ให้นึกว่าเรามีพระธรรมเป็นพระก ร ร มวาจาจารย์ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ ให้นึกว่าเรามีพระอริยสงฆ์เป็นพระอนุสาวนาจารย์

แล้วอย่าสนใจขันธ์ ๕ หรือร่างกายเรานี้…ให้สำรวมจิตให้ดี มีความยินดีในการบวช ชายก็ตั้งจิตเป็นพระภิกษุ หญิงก็ตั้งจิตเป็นพระภิกษุณี อย่างนี้จะมีอานิสงส์สูงมาก จัดเป็นเนกขัมมบารมีขั้นอุกฤษฏ์ทีเดียว”

ขอบคุณข้อมูลจาก : ธรรมโอวาท หลว งตาม้า วัดถ้ำเมืองนะ

Facebook Comments

ทิ้งคำตอบไว้

Please enter your comment!
Please enter your name here