อย่าทิ้งเงินก้อนโต พ.ร.บ. เบิกได้เยอะมาก เรื่องที่หลายคนไม่เคยรู้

0

อย่าทิ้งเงินก้อนโต พ.ร.บ. เบิกได้เยอะมาก เรื่องที่หลายคนไม่เคยรู้

จ่าย พ.ร.บ.ทุกปี รู้หรือไม่ว่าเราสามารถบอกอะไรได้บ้าง รูปเอาไว้ก็ดีจะได้ไม่เสียหาย สำหรับพรบรถยนต์ หรือประกันรถยนต์ภาคบังคับ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง หรือที่เราเรียกกันติดปากว่า ประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ ซึ่งมีการบังคับไว้ว่ารถยนต์หรือว่ารถจักรยานยนต์ทุกคัน จะต้องทำประกันนี้ไว้ และทุกครั้งจะต้องเสียภาษีในการต่อทะเบียนรถ และซื้อ พ.ร.บ. ควบคู่กันไปด้วย เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้ประสบเหตุจากรถยนต์และรถจักรยานยนต์ โดยมีรายละเอียดดังกล่าวต่อไปนี้

คำที่เกี่ยวข้อง : ประกันรถ,ประกันรถยนต์,ประกันรถชั้น 1,ประกันรถยนต์ 2+,ประกัน รถ ชั้น 1 ที่ไหน ดี, ประกันรถ 2+, ประกัน รถยนต์ 3+

1. เป็นค่ารักษาพยาบาลจากการบาดเจ็บ จ่ายตามจริงสูงสุดได้ไม่เกิน 30,000 บาทคน

2. หากถึงชีวิต หรือว่าเสียอวัยวะ ทุ พ พ ลภาพอย่างถาวรจะจ่ายให้ 3,000 บาทต่อคน

ถ้าหากเสียหายรวมกันทั้งข้อ 1 และข้อ 2 รวมแล้วจะต้องไม่เกิน 65,000 บาทต่อคน ซึ่งการจ่ายค่าสินไหมทดแทน ผู้เครมประกันจะได้รับภายหลังจากการพิสูจน์แล้วว่า ตนเองนั้นไม่ได้เป็นฝ่ายผิดตามกฎหมาย โดยมีวงเงินคุ้มครองรวมกับค่าเสียหายเบื้องต้นดังกล่าว ในกรณีที่เป็นฝ่ายถูก

1. ค่ารักษาพยาบาล จากการบาดเจ็บ สูงสุดไม่เกิน 80,000 บาทต่อคน

2. ชีวิต หรือ ทุ พ พ ลภาพอย่างถาวร 300,000 บาทต่อคน

3. กรณีเสียอวัยวะ

3.1 เสียมือตั้งแต่ข้อมือ หรือแขน หรือเท้าตั้งแต่ข้อเท้า หรือขา หรือ ตา อย่างใดอย่างหนึ่งรวมกัน ตั้งแต่ 2 กรณีขึ้นไป 300,000 บาท

3.2 เสียมือตั้งแต่ข้อมือ หรือแขน หรือเท้าตั้งแต่ข้อเท้า หรือขา หรือสายตา หรือ หูหนวกเป็นใบ้ หรือเสียความสามารถในการพูด เสียอวัยวะ หรือความสามารถในการสื บ พั น ธุ์ จิ ต พิ ก าร อย่างติดตัว หรือเสียอวัยวะอื่นใด 250,000 บาท 3.3 เสียนิ้วตั้งแต่ข้อนิ้วขึ้นไป ไม่ว่านิ้วเดียว หรือ หลายนิ้ว 200,000 บาท

4 ค่าชดเชยการรักษาตัว กรณีผู้ป่วยใน 200 บาทต่อวัน แต่ไม่เกิน 20 วัน หรือไม่เกิน 4,000 บาท

5 จำนวนเงินคุ้มครอง สูงสุดรวมกันต้องไม่เกิน 304,000 บาท

6 วงเงินคุ้มครองความรับผิดสูงสุดต่อเหตุแต่ละครั้ง สำหรับรถยนต์ไม่เกิน 7 ที่นั่ง 5,000,000 ต่อครั้ง

7 วงเงินคุ้มครองความรับผิดสูงสุดต่อเหตุแต่ละครั้ง สำหรับรถยนต์เกิน 7 ที่นั่ง 10,000,000 ต่อครั้ง สำหรับ

เอกสารที่จะต้องใช้เวลาเคลม พ.ร.บ. มีดังนี้ กรณีบาดเจ็บ

– สำเนาบัตรประชาชนผู้ประสบเหตุ

– ใบเสร็จรับเงินต้นฉบับ

กรณีเบิกค่าชดเชย หรือ ผู้ป่วยใน

– สำเนาบัตรประชาชนผู้ประสบเหตุ

– ใบรับรองแพทย์ หนังสือรับรองการรักษาตัวเป็นผู้ป่วยใน

กรณีทุ พ พ ลภาพ

– สำเนาบัตรประชาชนผู้ประสบเหตุ

– ใบรับรองแพทย์และหนังสือรับรองความพิ ก า ร

– สำเนาบันทึกประจำวันของพนักงานสอบสวน หรือ หลักฐานอื่นที่แสดงว่าผู้นั้นได้รับความเสียหายจากการประสบภัยจากรถ

กรณีเสียไปแล้ว

– สำเนาบัตรประชาชนผู้ประสบเหตุ

– ใบมรณบัตร

– สำเนาบัตรประชาชนทายาทสำเนาทะเบียนบ้าน

– สำเนาบันทึกประจำวันในคดีของพนักงานสอบสวน หรือหลักฐานอื่นที่แสดงว่าผู้นั้นถึงแก่การจากไป เพราะการประสบภัยจากรถ

เมื่อเราเตรียมการเอกสารเรียบร้อยทั้งหมดแล้ว ก็สามารถทำเรื่องขอเบิกเงินประกันได้ จากบริษัทประกันรถชนที่เราซื้อ พ.ร.บ. มา ซึ่งสามารถดูได้ที่กรมธรรม์และบริษัทคุ้มครอง ดูสำหรับรถจักรยานยนต์ซึ่งจะมีการเบิกจ่ายเงินภายใน 7 วัน โดย พ.ร.บ. จะคุ้มครองผู้ที่เสียหายในส่วนของคนนั้น ส่วนในเรื่องของทรัพย์สิน หรือตัวรถ จะไม่ได้รับการคุ้มครอง เพราะฉะนั้นแล้วผู้ที่ขับขี่รถยนต์ ควรที่จะทำประกันรถยนต์ภาคสมัครใจ หรือที่เรียกว่าประกันรถ ไม่ว่าจะเป็นชั้น 1 ชั้น 2 หรือชั้น 3 ก็ตาม ก็ควรที่จะทำเอาไว้เช่นกัน เพื่อประกันความเสี่ยงจากเหตุที่จะเกิดขึ้น

ขอขอบคุณ : กรมขนส่ง

Facebook Comments

ทิ้งคำตอบไว้

Please enter your comment!
Please enter your name here